สำหรับหล า ยๆคน มักจะมีปัญหาในเรื่องของเ งิ นไม่พอใช้ เก็บเ งิ นไม่อยู่ ได้มาก็จ่ายออ กไปไม่เหลือเก็บ แค่ใช้เดือนชนเดือนยังย า ก วันนี้เราเลยมีเ ท ค นิ คในการบริหารเ งิ น มาฝากกัน จะเป็นอ ย่ างไรเราไปติดต ามกันเลย
ใกล้สิ้นเดือนแล้ว เ งิ นเดือนก็ใกล้จะออ กแล้ว หล า ยคนเป็น โ ร ค ท รั พ ย์จาง ตั้งแต่ช่วงกลางเดือนนั่นอาจเป็นเ พ ร า ะยังบริหารเ งิ นเดือนได้ไม่ดีเท่าที่ควร หากปล่อยไว้คงไม่ดีแน่เรา จึงมี 7 วิ ธีบริหารเ งิ น มาแนะนำ เพื่อที่เดือนหน้าจะได้ไม่ต้องอ ด มีพอ กินพอใช้ และเหลือออม
1. บันทึกร า ยรับร า ยจ่าย
การควบคุมการใช้เ งิ นที่ดีที่สุดก็คือ บันทึกการใช้เ งิ นของตนเองซึ่งประโยชน์จากการเขียน ร า ยรับร า ยจ่ายทุกวันจะทำให้เรารู้ร า ยละเอียดการใช้เ งิ นในแต่ละวันว่ามีเ งิ นในกระเป๋าอยู่เท่าไหร่ หยิบใช้ได้มากน้อยแค่ไหน เมื่อใช้จ่ายไปแล้วเหลือเท่าไหร่อีกทั้ง ยังทำให้เราเห็นร า ยจ่ายส่วนเกินได้ง่ายจึงช่วยให้ตัดค่าใช้จ่ายที่เกินความจำเป็นทิ้งได้ง่ายขึ้นต ามไปด้วย
2. ใช้จ่ายอ ย่ างรู้ตัว
ถ้าของมันต้องมี คงไม่ดีถ้าไม่ซื้ อความอย า กได้ อย า กมี อย า กกินอย า กซื้ อที่เกินความจำเป็นในชีวิตเรานั้น มีกันทุกคน ดังนั้น เราสามารถซื้ อทุกอ ย่ างที่ต้องการได้ตราบเท่าที่มีเ งิ นจ่ายแต่ต้องยึดกฎเหล็กว่าจะต้องไม่สร้างห นี้และไม่ไปดึงเ งิ นก้อนอื่นที่แบ่งไว้แล้วก่อนหน้านี้มาใช้
3. แบ่งเ งิ นทันที
ทันทีที่เ งิ นออ ก สิ่งแรกที่ต้องทำคือจัดสรรเ งิ นให้เป็นก้อน ๆ ก้อนหนึ่งไว้ใช้จ่ายทั่วไปในชีวิตประจำวันก้อนหนึ่งใช้ห นี้อีกก้อนหนึ่งไว้ให้รางวัลตัวเอง และต้องไม่ลืมแบ่งอีกก้อนเป็นเ งิ นออมไว้เผื่ออนาคตด้วยซึ่งการจัดสรรเ งิ นนี้สามารถประยุกต์ได้ต ามร า ยรับร า ยจ่ายของแต่ละคน
4. นำไปล ง ทุ น
การล ง ทุ นที่ดีคือ การทำให้เ งิ นที่นอนอยู่นิ่ง ๆ ไปทำให้งอ กเงย ซึ่งเราสามารถนำเ งิ น ไปล ง ทุ น ได้ต ามรูปแบบที่สนใจและเหมาะสมกับร า ยรับร า ยจ่ายอ ย่ างไรก็ต าม ทุกการล ง ทุ น มีความ เ สี่ ย ง จึงจำเป็นอ ย่ างยิ่งที่จะต้องศึกษาวิ ธีการล ง ทุ นให้เข้าใจเป็นอ ย่ างดี และเลือ กปรึกษาคนที่ไว้ใจได้เท่านั้น
5. รั ก ษ า สถานภาพทางการเ งิ น
การบริหารเ งิ นจะต้องมีวินัยและปฏิบัติ ต่อเนื่องอ ย่ างเคร่งครัด ถ้าเริ่มทำได้ เป็นระบบอยู่ตัวแล้วก็ต้อง รั ก ษ า สถานภาพทางการเ งิ นไว้ให้ได้ต ามมาตรฐานในตอนแรกด้วย ทั้งนี้ อ ย่ าลืมแผนสำรองสำหรับปรับการใช้เ งิ นให้ยืดหยุ่น ต ามสถานการณ์ด้วยเพียงเท่านี้สภาพการเ งิ นก็จะคล่องตัว และมีความมั่นคงในระยะย า ว
6. ออมให้เป็นนิสัย
ไม่จำเป็นต้องอ ดทุกความสุข หมดสนุกกับทุกอ ย่ าง เ พ ร า ะเราวางแผนเองได้ว่าจะออมเท่าไหร่จะใช้วิ ธีออมทีละนิด อ ย่ างสม่ำเสมอหรือจะเข้มงวดต ามสูตรออมขั้นต่ำร้อยละ 10 ของร า ยรับก็ได้ แต่อ ย่ าละเลยการออมเ งิ น เ พ ร า ะเ งิ นส่วนนี้นี่แหละที่จะช่วยให้อยู่รอ ดในย า มคับขันรวมถึงเป็นเ งิ น สำหรับใช้จ่ายในอนาคตต ามหลักแล้ว เราควรมีเ งิ นสำรองไว้ใช้ในกรณีฉุกเฉินอ ย่ างน้อย 3 เดือน
เมื่อเกิดเหตุไม่คาดฝันขึ้นก็ยังมีเ งิ นใช้และหากบริษัท มีสวัสดิการให้พนักงาน เป็นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพด้วยก็ยิ่งดี ซึ่งจะช่วยให้การออมเ งิ นของเรานั้นง่ายขึ้น หากเกิดกรณีที่จำเป็นต้องใช้เ งิ นหรือเกษียณงานไปแล้ว ก็มั่นใจได้ว่ามีเ งิ นก้อนให้ใช้แน่นอน
7. บริหารการชำระห นี้
ห นี้ที่ว่าคือ ค่าบ้าน ค่ารถ ค่าบัตรเครดิต และอีกสารพัดห นี้ การวางแผนจ่ายห นี้จะช่วย ให้การเ งิ นไม่ข า ดสภาพคล่อง เช่น ชำระห นี้ให้ตรงเวลา เพื่อที่จะได้ไม่ต้องเ สี ยดอ กเบี้ยและค่าต ามทวงห นี้ ชำระห นี้ร า ยเดือนให้ได้จำนวนเ งิ นขั้นต่ำเป็นอ ย่ างน้อย ถ้ายังมีเ งิ นเหลือก็โปะห นี้ให้มากหน่อย เพื่อลดเ งิ นต้นหรือถ้าฝืดเคืองจริง ๆ ควรเลือ กจ่ายห นี้ที่ มี ดอ กเบี้ยสูงก่อน เพื่อตัดวงจรดอ กเบี้ยบานปล า ย
ที่มา t o n k i t 3 6 0 yindeeyindee