วันนี้เรามีความรู้มาฝากกันค่ะ ว่ากันว่า การรก ู้ร่วมอะไรก็แล้วแต่ นั่นเท่ากับว่าเรา มีห นี้ร่วมกันเป็นที่เรียบร้อย ก่อนอื่นนั้นเราควรศึกษา หาข้ อมูลก่อนที่จะ ก ู้ร่วมว่า สิ่งที่เราเกี่ยวข้ องนั้น มีอะไรบ้าง ก่อนตัดสินใจ ไป ติ ด ต ามกันเลยค่ะ
ผู้ก ู้ร่วมซื้ อบ้าน เป็นใครได้บ้าง โดยทั่วไปกำหนดว่าผู้ก ู้ร่วม ต้องมีสายโลหิต เดียวกัน หรือมีความสัมพันธ์ ทางเครือญาติ พี่น้องท้องเดียวกันแต่ คนละนามสกุล ก็สามารถก ู้ร่วมกันได้ เพียงแต่แสดงทะเบียนบ้าน ห รือสูติบัตรที่ระบุว่า พ่อแม่เดียวกัน
กรณีสมรสไม่จดทะเบียน
ก็แสดงหลักฐาน เช่น ภาพถ่ายงานแต่ง การ์ดงานแต่ง หรือ การมีบุตรร่วมกัน ก ร ร มสิทธิ์ ในอสังหาฯ เป็นของคนเดียว หรือ หล า ยคน
ผู้ที่มีนามสกุลเดียวกัน
อาจเป็นสามี ภรรย า พี่น้อง พ่อ แม่กับลูก รวมทั้งเป็นญาติกัน โดยมี นามสกุลเดียวกัน การก ู้ร่วมซื้ อ บ้านทำได้ 2 แบบ
1 การใส่ชื่อคนเดียว เป็นเจ้าของก ร ร มสิทธิ์แต่เวลา ก ู้ยืมใช้หล า ยคน มาก ู้ร่วม
2 การก ู้ร่วมโดยใส่ชื่อผู้ก ู้ร่วมทุกคน เป็นเจ้าของก ร ร มสิทธิร่วมกัน ส่วนใหญ่แล้ว ผู้ก ู้จะเลือ กแบบที่สอง เ พ ร า ะผู้ก ู้ทุกคน มีก ร ร มสิทธิ์ ในบ้าน หรืออสังหา นั้ น ร่วมกัน แต่การถือ ก ร ร มสิทธิ์ ร่วมมีเรื่องที่ต้อง คำนึงคือ หากต้องการข า ยบ้าน หรือ อสังหาฯ นั้น จะทำไ ด้ ก็ต่อเมื่อได้รับ การยินยอมจากผู้ถือ ก ร ร ม สิทธิ์ร่วมทุกคน
สิทธิประโยชน์ด้านภาษี
จาก ด อ กเบี้ยจ่าย ล ดหย่อนอย่ างไร ดอ กเบี้ยจ่ายของเ งิ นก ู้บ้าน สามารถนำมา ล ดหย่อนภาษีได้ต ามที่จ่าย จริงแต่สูงสุด ไม่เกิน 100,000 บ า ทต่อปีภาษี
กรณีของการก ู้เดี่ยว
สิทธิล ดหย่อน ภาษีจาก ด อ ก เบี้ยบ้านจะเป็น ของผู้ก ู้เพียงผู้เดียว
กรณีของการก ู้ร่วม
กรณีก ู้ร่วมสองคน ก็คือหารครึ่งนั่นเอง ให้หารเฉลี่ยต ามจำนวนผู้ก ู้
ที่มา thewayoflife.com parinyajai sit-smiling