จากที่เราได้ดูข่ า วหล า ยต่อหล า ยช่อง และหล า ยครั้งที่มีข่ า วเกี่ยวกับพ่อแม่ โอนที่ดิน ท รั พ ย์สินให้ลูกตัวเอง เพื่อหวังฝากผีฝากไ ข้ ให้ลูกหลานเลี้ยงดูย ามแก่เฒ่า แต่สุดท้ายกลับกลับโดนลูกในไส้หักหลัง เนรคุณ และไล่พ่อแม่ออ กจากบ้าน จะด้วยเหตุผลอะไรก็แล้วแต่ เรามิอาจจะไปทราบได้ เ พร า ะมันเป็นเรื่องของคนในครอบครัวเขา แต่วันนี้ได้ไปหาความรู้เพิ่มเติมมา ว่าหากเกิดเหตุการณ์ในกรณีนี้กับเรา เราจะทำอ ย่ างไร
ม ร ด กที่ดินโอนให้แล้วจะเรียกคืนได้ไหม
ถ้าพ่อแม่ยังไม่ เ สี ย ชี วิ ต อ ย่ างนี้เรียก ให้โดยเสน่หา ค่ะ สามารถถอนคืนการให้ด้วยเหตุเนรคุณได้ ต าม ป.พ.พ. มาตรา 531 ค่ะ เราไปดูคำขย ายความเพิ่มเติมเลย
การให้ คือ สัญญาซึ่งบุคคล เรียกว่า ผู้ให้โอนท รั พ ย์สินของตนให้โดยเสน่หาแก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เรียกว่าผู้รับ และผู้รับยอมรับเอาท รั พ ย์สินนี้ และการมอบให้นั้นจะต้องไม่ได้หวัง สิ่งตอบแทนแต่อ ย่ างใด เช่น แม่ยกบ้านพร้อมที่ดินให้ลูกโดยเสน่หา โดยการจดทะเบียนการโอนก ร ร มสิทธิ์ที่สำนักงานที่ดินเรียบร้อย โดยที่ลูกไม่ได้จ่ายค่าตอบแทนอะไรให้แม่ ดังนั้น จึงเรียกว่าเป็นการมอบให้โดยเสน่หา
แล้วจะทำอ ย่ างไรหากแม่ต้องการอย ากได้ที่ดินคืนจากลูก ซึ่งอยู่ดีๆเมื่อแม่โอนก ร ร มสิทธิ์ที่ดินและบ้านไปให้ลูกแล้ว แม่อย ากจะเรียกที่ดินคืนจากลูกไม่สามารถทำได้ เนื่องจาก การให้โดยเสน่หา เมื่อให้กันแล้วจะไม่สามารถถอนคืน หรือ เรียกคืนได้ หากการให้นั้นชอบด้วยกฎห ม า ย แต่จะมีข้ อยกเว้นที่สามารถเรียกคืนได้ คือ
การประพฤติเนรคุณ มีลักษณะดังนี้
1) ถ้าผู้รับได้ประทุษร้ า ยต่อผู้ให้เป็นความผิ ดฐานอาชญาอ ย่ างร้ า ยแ ร งต ามประมวลกฎห ม า ยลักษณะอาญา เช่น ทำร้ า ยร่างกาย
2) ถ้าผู้รับได้ทำให้ผู้ให้เ สี ยชื่อเ สี ยง หรือหมิ่นประมาทผู้ให้อ ย่ างร้ า ยแ ร ง เช่น นาย ก. มอบที่ดินให้ นาข ข. โดยเสน่หา ต่อมา นาย ก. เ จ็ บป่ ว ยไปขอความช่วยเหลือจาก นาย ข. นาย ข. ไม่พอใจพร้อมพูดว่า บักห ม ามึ งแก่แล้ว พูดจากลับไปกลับมาเหมือนเ ด็ กเล่นข า ยของ มึ งไม่มีศีลธรรม มึ งไป ต า ย ที่ไหนก็ไป ถือได้ว่าเป็นการหมิ่นประมาท นาย ก. อ ย่ างร้ า ยแ ร ง จึงมีเหตุประพฤติเนรคุณที่นาย ก.จะจะเรียกคืนที่ดินกับนาย ข. ได้
3) ถ้าผู้รับได้บอ กปัดไม่ยอมให้สิ่งของจำเป็นเลี้ยงชีวิตแก่ผู้ให้ ในเวลาที่ผู้ให้ย ากไร้และผู้รับยังสามารถจะให้ได้ เช่น แม่โอนบ้านพร้อมที่ดินให้แก่ลูก โดยการเปลียนแปลงชื่อในโฉนดเรียบร้อยแล้ว แต่แม่ก็ยังอาศัยอยู่ในบ้านหลังนั้น ต่อมาลูกกลับขับไล่แม่ออ กจากบ้านพฤติก ร ร มของลูกก็ถือว่าประพฤติเนรคุณแล้ว ดังนั้นแม่สามารถเรียกร้องบ้านพร้อมที่ดินคืนจากลูกได้
ระยะเวลาในการฟ้องร้องคดีถอนการให้โดยเสน่หา
1 มีระยะเวลา 6 เดือนนับจากที่รู้ หรือ
2 ภายใน 10 ปี นับจากเหตุประพฤติเนรคุณนั้นได้เกิดขึ้น
สรุป ผู้ให้ต้องยังไม่ได้ให้อภั ยแก่ผู้รับในเหตุประพฤติเนรคุณนั้น และต้องฟ้องถอนคืนการให้ภายใน 6 เดือนนับแต่เมื่อทราบถึงเหตุประพฤติเนรคุณ แต่ไม่เกิน 10 ปี ภายหลังเหตุการณ์ประพฤติเนรคุณนั้น และการให้ที่ไม่สามารถที่จะฟ้องขอเพิกถอนคืนการให้ เ พร า ะเหตุเนรคุณ ได้แก่
1 ให้เป็นบำเหน็จสินจ้างโดยแท้
2 ให้สิ่งที่มีค่าภาระติดพัน
3 ให้โดยหน้าที่ธรรมจรรย า
4 ให้ในการสมรส
และนี่ก็เป็นความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเรียกคืน ม ร ด กในกรณีที่ลูกหลานไม่เลี้ยงดูหรือเนรคุณ แต่สุดท้ายแล้ว สิ่งสำคัญไม่ใช่หลักฐานการโอนเงิน แต่สิ่งสำคัญ คือ ใจ ของพ่อแม่ ว่ามีความรู้สึกว่า คุณรักและดูแลท่านไหม ทำให้ท่านชื่นใจมีความสุขไหม เป็นคนที่น่าไว้วางใจให้ดูแลท รั พ ย์หรือเปล่า ถ้าคุณรักและดูแลพ่อแม่ ถึงท่านจะมีสิทธิเรียกคืน ท่านก็คงจะไม่เรียกคืน หากต้องข้ อมูลเพิ่มเติม โปรดปรึกษาทนายใกล้บ้านท่าน
อ้างอิงเนื้อหาบทความจาก
1 www.nitilawandwinner.com/content/17308/แม่โอนที่ดินให้ลูก-ต่อมาแม่อย ากได้ที่ดินคินสามารถทำได้หรือไม่-ทนายนิธิพล-
2 www.jarataccountingandlaw.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=437855&Ntype=4
3 www.closelawyer.com/16807362/ผู้ให้อาจฟ้องขอถอนคืนการให้ได้-เมื่อผู้รับประพฤติเนรคุณ
ภาพประกอบบทความเท่านั้น
ที่มา parinyacheewit